คลังเก็บป้ายกำกับ: น้ำบาดาลแพร่

บ่อบาดาลแพร่ บ่อบาดาล เจาะน้ำบาดาล รับเจาะน้าบาดาลราคาถูก

รับเจาะน้ำบาดาลแพร่ โทร 090-9218474 บ่อบาดาล เจาะน้ำบาดาล รับเจาะน้าบาดาลราคาถูก
ช่างเจาะบาดาลแพร่ ,  น้ำบาดาลแพร่ ,  บ่อบาดาลแพร่ ,  เจาะบาดาลแพร่
รับเจาะบาดาลแพร่ รับสำรวจหาแหล่งน้ำบาดาล ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล  การขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล

 ติดต่อช่างเจาะบาดาล   



ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
ขั้นตอนที่ 1 ผู้ประสงค์จะเจาะน้ำบาดาลดำเนินการดังนี้

1. ยื่นคำขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ( ตามแบบ นบ.1 ) ณ ที่ทำการ อบต./เทศบาล นั้นๆ
2. แนบหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาตเจาะ ดังนี้
ผู้ขอรับใบอนุญาตกรณีบุคคลธรรมดา    
     1. สำเนาทะเบียนบ้าน หรือ สำเนาบัตรประชาชนของผู้ขอ ผู้รับมอบอำนาจ และหรือ ผู้ให้ความยินยอม
     2. หนังสือมอบอำนาจปิดอากรแสตมป์ 30 บาท (กรณีไม่ได้มายื่นขอด้วยตนเอง)
     3. สำเนาหลักฐานการมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง เช่น โฉนดที่ดิน น.ส.
3 หนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน หนังสือครอบครองสิทธิ์ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาลในที่ดิน หรือลงชื่อรับรองว่าเป็นผู้มีสิทธิ์ ในที่ดินในคำขอรับใบอนุญาตเจาะบ่อน้ำบาดาล กรณีมอบอำนาจต้องมีสำเนาบัตรของผู้รับมอบด้วย
4. สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงงาน หรือใบอนุญาตขยายโรงงาน (กรณีเป็นโรงงานอุตสาหกรรม)
5. แบบแปลนจัดสรร (กรณีเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือที่ดินจัดสรร)
6. สำเนาหนังสือรับรองช่างเจาะ ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะหรือผู้รับเหมาเจาะ (สำหรับบ่อน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตอนบนตั้งแต่ 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร) ขึ้นไป และสำเนาหนังสือรับรอง นักธรณีวิทยา หรือ วิศวกร ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะ หรือ ผู้รับเหมาเจาะ สำหรับบ่อน้ำบาดาลขนาด 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร) ขึ้นไป ในเขตวิกฤตน้ำบาดาล และบ่อน้ำบาดาลขนาด 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร) ขึ้นไป นอกเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาล 69 จังหวัด)
7. แผนที่สังเขปแสดงเส้นทางและสถานที่ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาล
8. เอกสารอื่นตามที่เจ้าหน้าที่กำหนด
ผู้ขอรับใบอนุญาตกรณีเป็นนิติบุคคล
     1. สำเนารับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลแสดงรายนามผู้มีอำนาจลงนาม , สำเนาทะเบียนบ้านหรือสำเนาบัตรประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อผู้รับมอบอ้านาจ และหรือผู้ให้ความยินยอม
     2. หนังสือมอบอ้านาจปิดอากรแสตมป์ 30 บาท (กรณีกรรมการผู้จัดการไม่ได้มายื่นคำขอด้วยตนเอง)
     3. สำเนาหลักฐานการมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง เช่น โฉนดที่ดิน น.ส.3 หนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน หนังสือครอบครองสิทธิ์ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาลในที่ดิน หรือลงชื่อรับรองว่าเป็นผู้มีสิทธิ์ ในที่ดินในคำขอรับใบอนุญาตเจาะบ่อน้ำบาดาล กรณีมอบอำนาจต้องมีสำเนาบัตรของผู้รับมอบด้วย
     4. สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงงาน หรือใบอนุญาตขยายโรงงาน (กรณีเป็นโรงงานอุตสาหกรรม)
     5. แบบแปลนจัดสรร (กรณีเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือที่ดินจัดสรร)
     6. สำเนาหนังสือรับรองช่างเจาะ ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะหรือผู้รับเหมาเจาะ (สำหรับบ่อน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตอนบนตั้งแต่ 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร) ขึ้นไป และสำเนาหนังสือรับรอง นักธรณีวิทยา หรือ วิศวกร ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะ หรือ ผู้รับเหมาเจาะ สำหรับบ่อน้ำบาดาลขนาด 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร) ขึ้นไป ในเขตวิกฤตน้ำบาดาล และบ่อน้ำบาดาลขนาด 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร) ขึ้นไป นอกเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาล 69 จังหวัด)
     7. แผนที่สังเขปแสดงเส้นทางและสถานที่ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาล
     8. เอกสารอื่นตามที่เจ้าหน้าที่กำหนด
ขั้นนตอนที่ 2ให้พนักงานน้ำบาดาลประจำท้องที่ดำเนินการดังนี้
1. ตรวจสอบคำขอและเอกสารประกอบการขอรับใบอนุญาตเจาะ โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วัน ทำการ
2. รับคำขอ ลงทะเบียนรับ และรับช้าระค่าธรรมเนียมค้าขอตามอัตราที่กำหนด
ขั้นตอนที่ 3 – 4 1. ตรวจสอบแหล่งน้ำจากแผนที่น้ำบาดาล โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ หรือ ตรวจสอบสถานที่โดยมีระยะเวลาการดำเนินงาน 2 วันทำการ
ขั้นตอนที่ 5 1. พิจารณาค้าขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล           
     1.1 คำขอรับใบอนุญาตเจาะที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดน้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร )           
     1.2 คำขอรับใบอนุญาตเจาะที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดเท่ากับหรือมากกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร ) และด้าเนินเรื่องส่ง สำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์การขอรับใบอนุญาตฯ
ขั้นตอนที่ 6 1. การพิจารณาออกอนุญาต/ไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดน้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร )    
     1.1 นายก อบต./เทศบาล ในฐานะพนักงานน้ำบาดาลประจำท้องที่พิจารณาการอนุญาตหรือไม่อนุญาตการเจาะน้ำบาดาลโดยต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 2 วันทำการ      
     1.2 ดำเนินการแจ้งผู้ขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.2.1 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.2.2 กรณีพิจารณาไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้รับทราบ 
ขั้นตอนที่ 7 1. การพิจารณาออกอนุญาต/ไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดเท่ากับหรือมากกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร ) แต่ไม่มากกว่าหรือเท่ากับ 8 นิ้ว ( 200 มิลลิเมตร )      
     1.1 ผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขตในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่น้ำบาดาลประจำท้องที่จัดให้มีการประชุม อกก.เขต เพื่อดำเนินพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตการเจาะน้ำบาดาลโดยต้องมีการจัดประชุมภายใน 20 วันทำการ       
     1.2 ดำเนินการพิจารณาออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ตามมติ อกก.เขตโดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ และดำเนินการส่งใบอนุญาตให้ อบต./เทศบาล      
     1.3 ดำเนินการแจ้งผู้ขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.3.1 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ อบต.ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.3.2 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ อบต.ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
ขั้นตอนที่ 8 1. ผู้มายื่นขอรับอนุญาตเจาะน้ำบาดาล      
     1.1 กรณีได้รับใบอนุญาตให้มาช้าระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาลและรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล      
     1.2 กรณีไม่ได้รับใบอนุญาตให้มารับทราบถึงการไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล


บริการยกบ้านแพร่ เลื่อนบ้าน หมุนบ้าน ย้ายบ้าน เปลี่ยนเสา แก้ไขปัญหาบ้าน-อาคาร-โรงงานทรุดเอียง ดีดบ้านปูนโดยใช้แม่แรงไฮโดรลิคไฟฟ้าเข้าทำงาน แก้ไขปัญหาบ้านต่ำ หนีน้ำท่วม ผลงานช่างดีดบ้าน
ยกบ้าน2ชั้นแพร่
ราคาดีดบ้านแพร่
อุปกรณ์ยกบ้านแพร่
ดีดบ้านราคาแพร่
ยกบ้านแพร่
รับดีดบ้านปูนแพร่
ดีดบ้านทรุดแพร่
 

การพัฒนาน้ำบาดาล

การพัฒนาน้ำบาดาล หมายถึง วิธีการที่จะนำน้ำบาดาลจากชั้นหินกักเก็บน้ำที่อยู่ภายใต้ผิวดิน ขึ้นมาใช้ประโยชน์ ขั้นตอนของการพัฒนาน้ำบาดาล ประกอบด้วย

1. การสำรวจน้ำบาดาล

โดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าในบริเวณพื้นที่สำรวจมีน้ำบาดาลอยู่หรือไม่ มีปริมาณมากน้อยเท่าใด จะสามารถพัฒนาน้ำขึ้นมาใช้ได้เท่าไหร่ คุณภาพน้ำบาดาลเป็นอย่างไร

การสำรวจแบ่งออกได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ

การสำรวจทางด้านธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา
การสำรวจทางด้านธรณีฟิสิกส์ เช่น การสำรวจความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ
การสำรวจความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ (Resistivity Method) คุณสมบัติทางกายภาพที่วัดคือ ความต้านทานไฟฟ้า ซึ่งเป็นส่วนกลับของการนำไฟฟ้า โดยปกติแล้วชั้นดิน ชั้นหิน จะไม่นำไฟฟ้า ยกเว้นมีน้ำแทรกอยู่ตามช่องว่าง หรือตามรอยแตกรอยแยก

2. การเจาะบ่อ

การเจาะบ่อ (Well Drilling) มีวิธีการหลายๆ แบบที่ใช้เครื่องมือ แตกต่างกันออกไป ซึ่งการเลือกวิธีการเจาะบ่อ โดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับ ชนิดของหินที่อยู่ภายใต้ผิวดินและความลึกที่ต้องการเจาะเป็นสำคัญ วิธีการที่นิยมใช้ได้แก่

การเจาะแบบกระแทก
การเจาะแบบหมุน
การเจาะแบบใช้ลม

3. การปรับปรุงและพัฒนาบ่อ

การปรับปรุงบ่อ (Well completion) การปรับปรุงบ่อหรือการทำบ่อ ได้แก่ การทำรูเจาะให้เป็นบ่อน้ำ เพื่อพัฒนานำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ และเพื่อป้องกันการพังทลายของบ่อ การปรับปรุง ประกอบด้วย การออกแบบบ่อ การใส่ท่อกรุ การกรุกรวด

การพัฒนาบ่อ (Well Development) วัตถุประสงค์ เพื่อทำให้บ่อมีน้ำเพิ่มมากขึ้น ป้องกันไม่ให้ทรายไหลเข้าบ่อ ทำให้บ่อมีอายุ การใช้งานได้นาน หลักการ คือ ทำให้เม็ดกรวดทรายที่อยู่รอบบ่อเรียงตัวอย่างเป็น ระเบียบ ทำให้มีความพรุนและความซึมได้สูง วิธีการที่นิยม คือการเป่าล้างด้วยลม

4. การสูบทดสอบ

การสูบทดสอบ (Pumping Test) เป็นสิ่งที่จำเป็น ต้องกระทำภายหลังจากการปรับปรุงและพัฒนาบ่อเสร็จแล้ว ทำเพื่อ ให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะสามารถสูบขึ้นมา ใช้ โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้เพื่อการเลือกเครื่องสูบน้ำให้ถูกต้อง และเหมาะสม

5. การตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพน้ำ

การตรวจสอบคุณภาพน้ำ (Water Quality Test) คุณภาพน้ำบาดาล มีความสำคัญต่อการพัฒนาบ่อบาดาลมาก เนื่องจากคุณภาพของน้ำบาดาลจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงความสามารถในการนำไปใช้ประโยชน์ โดยทั่วไปอาจจำแนกการใช้ น้ำบาดาลได้เป็น 3 ประเภท คือ การใช้เพื่ออุปโภค-บริโภค การใช้เพื่อการเกษตรกรรม หรือการชลประทาน และการใช้ เพื่อการอุตสาหกรรม ซึ่งในการใช้งานแต่ละประเภท จะมีมาตรฐานคุณภาพน้ำที่แตกต่างกันออกไป

การปรับปรุงคุณภาพน้ำ (Water Treatment) บางครั้งคุณภาพน้ำบาดาลที่พัฒนาขึ้นมาได้ ไม่เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ อาทิ น้ำมีปริมาณสารละลายเหล็กสูง ไม่สามารถบริโภคได้ หรือน้ำมีปริมาณความกระด้าง ไม่สามารถใช้เพื่อการซักล้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ได้แก่ การกำจัดสิ่งเจือปนในน้ำ การกำจัดเหล็กและแมงกานิส การกำจัดความกระด้าง การกำจัดน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม การฆ่าเชื้อโรค เป็นต้น

6. การบำรุงรักษา

ในการพัฒนาน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ เมื่อได้ปริมาณ และคุณภาพน้ำตามที่ต้องการเแล้ว เมื่อใช้ไปในระยะเวลาที่นานหรือต้องการให้ใช้งานได้นาน ควรมีการบำรุงรักษาทั้งในแง่ของการบำรุงรักษาบ่อบาดาล และการบำรุงรักษาอุปกรณ์เครื่องสูบ
โดยทั่วไปบ่อบาดาลจะมีประสิทธิภาพลดลง เนื่องจากปัจจัยหลายประการ อาทิ ระดับน้ำบาดาลหรือระดับแรงดันของน้ำ ลดลง การอุดตันของท่อเซาะร่องหรือท่อกรอง รวมทั้งประสิทธิภาพที่ลดลงของเครื่องสูบ ซึ่งบ่อบาดาลที่มีการออกแบบไว้ดี ตั้งแต่เริ่มต้น และมีการใช้งานอย่างเหมาะสมจะมีอายุการใช้งานได้นาน

 

 
รับซื้อโครงเหล็กแพร่ รื้อถอนอาคาร ทุบบ้าน
รับซื้อโครงสร้างเหล็ก. รับซื้อโครงสร้างเหล็ก โรงงาน ซื้อโครงเหล็ก โครงหลังคาเหล็ก โกดังสินค้า บริการรับซื้อถึงที่ ผลงานของเรา
ต้องการขายโครงหลังคาแพร่
รับซื้อโครงเหล็กแพร่
รับซื้อโครงสร้างเหล็กแพร่
รับรื้อโครงเหล็กแพร่
รับซื้อโครงป้ายแพร่
รับรื้อถอนโครงเหล็กแพร่
โครงเหล็กเก่าแพร่
รื้อโครงสร้างเหล็กแพร่


น้ำบาดาลเป็นน้ำที่อยู่ใต้ดินมีประโยชน์และความสำคัญในหลายด้าน น้ำบาดาลจะอยู่ลึกลงไปหลายเมตร ขึ้นอยู่กับบริเวณที่พบน้ำบาดาลซึ้งอาจจะอยู่หลายกิโลเมตรก็ได้ ปกติแล้วน้ำบาดาลจะพบได้น้อยในพื้นที่รอบ
หรือถ้าพบก็ลึกลงไปมักจะต้องอยู่ใกล้กับแหล่งน้ำด้วย ในพื้นที่แห้งแล้งก็อาจจะต้องเจาะลึกลงไปมาก การนำไปใช้ประโยชน์มักใช้ในครัวเรือนในหมู่บ้านที่ไกลแหล่งน้ำ ใช้ในการเกษตร มีความสำคัญต่อชั้นดินมาก
วิชาที่ศึกษาเรียกว่า อุทกธรณีวิทยา

ตามที่ได้กล่าวไว้ว่าน้ำบาดาลในแต่ละที่จะมีระดับที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ ที่อยู่ไม่ลึกก็ใกล้แหล่งน้ำ บริเวณที่ฝนตกมาก หากบริเวณหุบเขา หากพื้นที่แห้งแล้งเป็นทะเลทรายก็อาจจะต้องเจาะลึกลงไป
โดยทั่วไปหากอยู่ในพื้นที่แหล่งน้ำก็ขุดได้ประมาณ 3 – 5 เมตรเรามักขุดเป็นบ่อน้ำเราตัดขึ้นมาใช้ แต่น้ำชนิดนี้มักขึ้นๆ ลงๆ ไปตามฤดูกาล บางที่อาจจะเจาไปหลายร้อยเมตรกว่าจะเจอ ระดับที่ลึกนั้นจะมีคุณภาพน้ำที่แตกต่างกันด้วย สรุปคือ
น้ำบาดาล คือน้ำที่อยู่ไต้ดินลึกลงไป เกิดจาการดูดซึมของดินและกินไหลลึกลงไป จนไปแทรกระหว่างหินและดินลึกลงไป หากมีแรกดันของน้ำที่ต่ำกว่าน้ำใต้ดินที่มีจะเกิดเป็นน้ำพุขึ้นมา มักเกิดขึ้นบริเวณใกล้เคียงภูเขา

น้ำบาดาลเกิดจาก น้ำฝนที่อยู่ชั้นบรรยากาศตกลงมาสู่พื้น กลายเป็นน้ำผิวดิน ส่วนหึ่งก็จะเกิดการซึมลงไปอีกส่วนก็ระเหย หรอรวมตัวกันเป็นแหล่งน้ำต่างๆ แหล่งน้ำเหล่านั้นหากซึมลงไปก็จะถูกเก็บไว้ในชั้นใต้ดินที่ลึกลงไป
ตามรูพรุนของหิน ซึ่งลงไปหลายเมตรจนถึงเป็นกิโลเมตร น้ำบาดาลที่อยู่ในหินเรียกว่า น้ำในกิน หากบริเวณที่มีหินหนืดหรือใกล้เคียง เรียกว่า น้ำหินหนืด

น้ำบาดาลสามารถที่จะขุดเจาะได้ตามบริเวณชั้นหินลึกลงไป แต่บางที่อาจจะลึกไม่มากนิยมสูบมาใช้งาน น้ำบาดาลมักจะอยู่ในระดับการซึมเข้าไปถึงและเป็นชั้นที่เก็บน้ำได้ หากลึงลงไปมากกว่า 15 กิโลเมตรมักจะไม่มีน้ำพบแต่ชั้นหินเท่านั้น

 

ช่างเจาะบาดาลอำเภอร้องกวาง
ช่างเจาะบาดาลทุ่งศรี
ช่างเจาะบาดาลน้ำเลา
ช่างเจาะบาดาลบ้านเวียง
ช่างเจาะบาดาลร้องกวาง
ช่างเจาะบาดาลร้องเข็ม
ช่างเจาะบาดาลห้วยโรง
ช่างเจาะบาดาลแม่ทราย
ช่างเจาะบาดาลแม่ยางตาล
ช่างเจาะบาดาลแม่ยางร้อง
ช่างเจาะบาดาลแม่ยางฮ่อ
ช่างเจาะบาดาลไผ่โทน

ช่างเจาะบาดาลอำเภอลอง
ช่างเจาะบาดาลต้าผามอก
ช่างเจาะบาดาลทุ่งแล้ง
ช่างเจาะบาดาลบ่อเหล็กลอง
ช่างเจาะบาดาลบ้านปิน
ช่างเจาะบาดาลปากกาง
ช่างเจาะบาดาลหัวทุ่ง
ช่างเจาะบาดาลห้วยอ้อ
ช่างเจาะบาดาลเวียงต้า
ช่างเจาะบาดาลแม่ปาน

ช่างเจาะบาดาลอำเภอวังชิ้น
ช่างเจาะบาดาลนาพูน
ช่างเจาะบาดาลป่าสัก
ช่างเจาะบาดาลวังชิ้น
ช่างเจาะบาดาลสรอย
ช่างเจาะบาดาลแม่ป้าก
ช่างเจาะบาดาลแม่พุง
ช่างเจาะบาดาลแม่เกิ๋ง

ช่างเจาะบาดาลอำเภอสอง
ช่างเจาะบาดาลทุ่งน้าว
ช่างเจาะบาดาลบ้านกลาง
ช่างเจาะบาดาลบ้านหนุน
ช่างเจาะบาดาลสะเอียบ
ช่างเจาะบาดาลหัวเมือง
ช่างเจาะบาดาลห้วยหม้าย
ช่างเจาะบาดาลเตาปูน
ช่างเจาะบาดาลแดนชุมพล

ช่างเจาะบาดาลอำเภอสูงเม่น
ช่างเจาะบาดาลดอนมูล
ช่างเจาะบาดาลน้ำชำ
ช่างเจาะบาดาลบ้านกวาง
ช่างเจาะบาดาลบ้านกาศ
ช่างเจาะบาดาลบ้านปง
ช่างเจาะบาดาลบ้านเหล่า
ช่างเจาะบาดาลพระหลวง
ช่างเจาะบาดาลร่องกาศ
ช่างเจาะบาดาลสบสาย
ช่างเจาะบาดาลสูงเม่น
ช่างเจาะบาดาลหัวฝาย
ช่างเจาะบาดาลเวียงทอง

ช่างเจาะบาดาลอำเภอหนองม่วงไข่
ช่างเจาะบาดาลตำหนักธรรม
ช่างเจาะบาดาลทุ่งแค้ว
ช่างเจาะบาดาลน้ำรัด
ช่างเจาะบาดาลวังหลวง
ช่างเจาะบาดาลหนองม่วงไข่
ช่างเจาะบาดาลแม่คำมี

ช่างเจาะบาดาลอำเภอเด่นชัย
ช่างเจาะบาดาลปงป่าหวาย
ช่างเจาะบาดาลห้วยไร่
ช่างเจาะบาดาลเด่นชัย
ช่างเจาะบาดาลแม่จั๊วะ
ช่างเจาะบาดาลไทรย้อย

ช่างเจาะบาดาลอำเภอเมือง
ช่างเจาะบาดาลกาญจนา
ช่างเจาะบาดาลช่อแฮ
ช่างเจาะบาดาลทุ่งกวาว
ช่างเจาะบาดาลทุ่งโฮ้ง
ช่างเจาะบาดาลท่าข้าม
ช่างเจาะบาดาลนาจักร
ช่างเจาะบาดาลน้ำชำ
ช่างเจาะบาดาลบ้านถิ่น
ช่างเจาะบาดาลป่าแดง
ช่างเจาะบาดาลป่าแมต
ช่างเจาะบาดาลร่องฟอง
ช่างเจาะบาดาลวังธง
ช่างเจาะบาดาลวังหงษ์
ช่างเจาะบาดาลสวนเขื่อน
ช่างเจาะบาดาลห้วยม้า
ช่างเจาะบาดาลเหมืองหม้อ
ช่างเจาะบาดาลแม่คำมี
ช่างเจาะบาดาลแม่ยม
ช่างเจาะบาดาลแม่หล่าย
ช่างเจาะบาดาลในเวียง